Monday, July 21, 2008
About Bangkok Bamboo
Row Angkalung
Each traditional Angkalung (pitched bamboo-shaker) can play only a single note. A person can play one Angkalung with each hand that mean only two notes at a time. Putting multiple pitches angkalung together in row make it possible for a person to play in scale.
Tuned in classical Thai tuning system, each row angkalung can substitute each Piphat ensemble’s instrument such as ranat-ek, ranat-thum khongwong-yai and khong-wong-lek.
Row angkalung has mechanism that allow it to played with keys.Playing with keyboard instead of shaking each angkalung by hand make it much faster. A specially large-sized row angkalung is created to extend the bass range of the ensemble.
Row angkalung is an evolution to traditional Angkalung music. The voice of angkalung can now be played with greater speed, complexity and range that was never possible.
อังกะลุงราว
ครูเฉลิม บัวทั่ง ศิลปินแห่งชาติ ปี พ.ศ. 2529 สาขาศิลปะการแสดง(ดนตรีไทย) เป็นผู้คิดที่จะประดิษฐ์อังกะลุงราวขึ้นเพื่อนำมาบรรเลงดนตรีไทย หากแต่หลังจากที่ท่านเสียชีวิตไปแล้ว ครูพีรศิษย์ (พัฒน์) บัวทั่ง ผู้เป็นบุตรจึงได้พัฒนาต่อจนสำเร็จ
อังกะลุงแบบเดิมนั้นใช้เขย่าด้วยมือ หนึ่งชิ้นเล่นได้หนึ่งเสียง คนหนึ่งเล่นได้เพียงสองชิ้นสองเสียงในเวลาเดียวกัน เมื่อนำมาพัฒนาเรียงเข้าด้วยกันเป็นราวทำให้สามารถเล่นเป็นบันไดเสียง ซึ่งสามารถเลียนเสียงของเครื่องดนตรีในวงปี่พาทย์ เช่น ระนาดเอก ระนาดทุ้ม ฆ้องวงใหญ่ เล็ก นอกจากนี้ยังได้ประกอบกับลิ่มคล้ายคีย์เปียโนเพื่อใช้ในการเขย่าและเพิ่มอังกะลุงขนาดใหญ่เพื่อสร้างเสียงตำ่ขึ้นมาเพิ่มเติมอีกด้วย
อังกะลุงราวเป็นการพัฒนาซึ่งเพิ่มศักยภาพของเครื่องดนตรีอังกะลุงทั้งความกว้างของย่านเสียง ความรวดเร็วและซับซ้อนในการบรรเลง สร้างมิติใหม่ให้แก่เสียงดนตรีอังกะลุงไทยดังไม่เคยปรากฏมาก่อน
Subscribe to:
Post Comments (Atom)
No comments:
Post a Comment